วันอังคารที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2560

ฟังก์ชันขั้นบันได



ฟังก์ชันขั้นบันได  คือฟังก์ชันบนจำนวนจริงซึ่งเกิดจากการรวมกันระหว่างฟังก์ชันคงตัวจากโดเมนที่แบ่งออกเป็นช่วงหลายช่วง กราฟของฟังก์ชันจะมีลักษณะเป็นส่วนของเส้นตรงหรือรังสีในแนวราบเป็นท่อน ๆ ตามช่วง ในระดับความสูงต่างกัน อ่านต่อ


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ฟังก์ชันขั้นบันได

ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์



   ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์  ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์ คือ ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป
y = |x - a| + c เมื่อ a และ c เป็นจำนวนจริง
ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์  อ่านต่อ




ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์

ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล



ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล   ฟังก์ชันนี้มีรูปแบบในรูปของเลขยกกำลัง โดยฐานของมันต้องมากกว่า 0 และฐานต้องไม่เป็น 1  ตัวอย่างของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลเช่น ตัวอย่างข้างต้นเป็นตัวอย่างของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล  อ่านต่อ


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล

ฟังก์ชั่นกำลังสอง

ฟังก์ชั่นกำลังสอง    ฟังก์ชันกำลังสอง  คือ  ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป  เมื่อ  a,b,c  เป็นจำนวนจริงใดๆ  และ ลักษณะของกราฟของฟังก์ชันนี้ขึ้นอยู่กับค่าของ  a , b  และ  c  และเมื่อค่าของ อ่านต่อ


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ฟังก์ชั่นกำลังสอง

ฟังก์ชันเชิงเส้น

    ฟังก์ชันเชิงเส้น   คือ ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป y = ax+b เมื่อ a ,b เป็นจำนวนจริง และ  กราฟของฟังก์ชันเชิงเส้นจะเป็นเส้นตรง

           ตัวอย่างของฟังก์ชันเชิงเส้น   ได้แก่  อ่านต่อ

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ฟังก์ชันเชิงเส้น

โดเมน และ เรนจ์

   โดเมน และ เรนจ์     พิจารณาเซตของสมาชิกตัวหน้า  และเซตของสมาชิกตัวหลังในคู่อันดับของความสัมพันธ์เช่น
                      r  =  {(1,2),(2,4),(3,6),(4,8),(5,10)}
           เซตของสมาชิกตัวหน้าในคู่อันดับของ  r  คือ  {1,2,3,4,5}  อ่านต่อ



ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ โดเมน และ เรนจ์

ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน

    ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน  คู่อันดับ (Order Pairเป็นการจับคู่สิ่งของโดยถือลำดับเป็นสำคัญ เช่น คู่อันดับ ab จะเขียนแทนด้วย (ab) เรียก a ว่าเป็นสมาชิกตัวหน้า และเรียก b ว่าเป็นสมาชิกตัวหลัง
(การเท่ากับของคู่อันดับ) (ab) = (c, d) ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = d อ่านต่อ

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน